หน้าหลัก
ITA
LPA
ประกาศจากระบบ e-GP
ประกาศจากระบบ e-GP ในเครือข่าย
องค์การบริหารส่วนตำบล นครชุม ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้
ยอมรับ
ข้อมูลหน่วยงาน
บุคลากร
การบริหารบุคคล
ข่าวสาร
แผน
รายงาน
ระเบียบ
บริการประชาชน
องค์การบริหารส่วนตำบลนครชุม
 
 
นายธนิสร บุญมีจิว
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนครชุม
 
การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(Local Performance Assessment: LPA)
 
 
LPA ปี พ.ศ.2562
7.4 อปท. มีโครงการซึ่งได้บูรณาการการปฎิบัติงานร่วมกับ อปท. อื่น หรือร่วมกับหน่วยงานอื่นในรอบปีที่ผ่านมารวมกี่ด้าน (ยกเว้นโครงการที่หน่วยงานของรัฐจัดสรรให้ อปท. ดำเนินการและโครงการที่ อปท.หรือหน่วยงานอื่นโดย อปท.ไม่ได้มีส่วนร่วม ในการดำเนินการ)
ข้อ URL คำอธิบาย
ตรวจสอบหลักฐานโครงการพร้อมภาพถ่ายที่มีการบูรณาการ (ร่วมคิด และร่วมทำหรืออุดหนุนงบประมาณ โดย อปท. มีส่วนร่วมดำเนินการ) การปฏิบัติงานร่วมกับส่วนราชการหรือ อปท. ใน 6 ด้านประกอบด้วย
1) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
2) ด้านการส่งเสริมสุขภาพชีวิต
3) ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย
4) ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุนพาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว
5) ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
6) ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
7) หลักฐานโครงการการบูรณาการร่วมคิดร่วมทำ (ปีงบประมาณ 2561)
หมวดที่ 8 การปรับปรุงภารกิจ
8.1 ในระยะเวลา 3 ปี ที่ผ่านมา (2559 – 2561) อปท. มีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกภารกิจตรวจสอบหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
ข้อ URL คำอธิบาย
1) คำสั่ง/ประกาศแต่งตั้งคณะทำงาน
2) รายงานการประชุมคณะทำงาน
3) บันทึกเสนอผู้บริหารเอกสารแสดงการขับเคลื่อนการดำเนินงานหลักจากการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกภารกิจและเสนอผู้บริหารพิจารณา
4) การดำเนินการตามหนังสือ มท.ที่มท 0895.4/ว 435 ลว. 11 ก.พ.2548 ข้อ 3 กรณีมีการดำเนินการทบทวนภารกิจแต่ไม่มีภารกิจ ทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือยกเลิก ให้ถือว่าดำเนินการแล้ว ตามเกณฑ์การให้คะแนน 4
8.2 การดำเนินการทบทวน แก้ไขปรับปรุงหรือยกเลิกขอบัญญัติ/เทศบัญญัติของ อปท. ตรวจสอบหลักฐานที่เกี่ยวข้องได้แก่
ข้อ URL คำอธิบาย
1) คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน
2) รายงานการประชุมคณะทำงาน
3) รายงานเสนอผู้บริหาร
4) ข้อสั่งการของผู้บริหาร
หมวดที่ 9 การดำเนินงานตามนโยบายของจังหวัด
9.1 จำนวนกิจกรรมที่ อปท. ดำเนินการในโครงการ........ระบุชื่อโครงการ............ตรวจสอบเอกสารหลักฐานเช่น
ข้อ URL คำอธิบาย
1) ข้อมูลการประสานงานหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น ที่ทำการปกครองอำเภอ/ขังหวัด สาธารณสุขอำเภอ/จังหวัด สถานนี้ตำรวจในพื้นที่
2) สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น ป้าย แผ่นพับ วิทยุชุมชน หอกระจ่ายข่าว เว็บไซต์ ภาพถ่าย วารสาร ใบปลิว จดหมายข่าว
3) ภาพถ่ายกิจกรรม
4) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึงการบำบัดฟื้นฟู/ผู้เสพยาเสพติด หรือการฝึกอบรมฯ
5) หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
6) บัญชีลงลายมือผู้เข้าร่วมกิจกรรม
7) กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
หมวด 1 ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์
1.1 การจัดการทำแผนอัตรากำลังสามปี
ข้อ URL คำอธิบาย
1) ตรวจสอบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลังว่าได้ระบุเลขที่คำสั่งหรือไม่ และระบุคำสั่งเลขที่เท่าใด
2) ตรวจสอบรายงานการประชุมคณะกรรมการการจัดทำแผนอัตรากำลังที่ได้แนบไว้ในเล่มแผนอัตรากำลังสามปี ประจำปี 2561-2563
3) ตรวจสอบหนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลังหรือเอกสารที่อ้างอิงว่าได้มีการแจ้ง ให้มีการประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลัง
4) ตรวจสอบจาก มติ ก.จังหวัดในครั้งที่มีการพิจารณาแผนอัตรากำลังของ อปท.
การจัดทำแผนอัตรากำลังสามปี
1) มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลัง
2) มีการเชิญแจ้งประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลัง
3) มีการลงชื่อกรรมการผู้เข้าร่วมประชุม
4) มีรายงานการประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลัง
5) ในเอกสารแผนอัตรากำลังการระบุยุทธศาสตร์แผนพัฒนาของ อปท.
6) มีบทวิเคราะห์ SWOT ศักยภาพขององค์กรโดยระบุ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคขององค์กรอย่างชัดเจน
7) มีการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าทีภารกิจหรือกิจกรรมใดที่ อปท. จะต้องดำเนินการ
8) มีการระบุว่าส่วนราชการ (กอง) มีหน้าที่ความรับผิดชอบใดพ้อมทั้งระบุงานของแต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน
9) แผนอัตรากำลังได้จัดทำประกาศโดยนายก อปท. ลงนามในประกาศ
10) ในแผนอัตรากำลังระบุมติ ก. จังหวัด ครั้งที่ เห็นชอบอย่างชัดเจน
1.2 การกำหนดกรอบอัตรากำลังข้าราชการ ตรวจสอบหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
ข้อ URL คำอธิบาย
1) การกำหนดตำแหน่งว่าต้องการตำแหน่งใดและมีจำนวนเท่าใด จะต้องมีข้อมูลด้านปริมาณงานและการวิเคราะห์อัตรากำลังชัดเจน
2) ดูจากเอกสารตามข้อ 1)- ข้อ 2)
3) ดูจากตารางรายงานการประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลังของ อปท.
4) ให้คะแนนแต่ละรายการจะต้องมีเอกสารหลัดฐานยืนยันความถูกต้อง
5) ให้สุ่มตรวจอย่างน้อย 3 ส่วนราชการ
6) กรณีกลุ่มตัวอย่างใด ไม่มีการดำเนินการตามตัวชี้วัด ให้ถือว่าตัวชี้วัดนั้น ไม่ผ่าน
การกำหนดกรอบอัตรากำลังข้าราชการ
1) มีการเก็บสถิติปริมาณงานที่เกิดขึ้นของแต่ละส่วนราชการครบทุกส่วนราชการ
2) มีการนำปริมาณงานที่เกิดขึ้นของแต่ละส่วนราชการมาคำนวณเป็นระยะเวลาที่เกิดขึ้น โดยแสดงเป็นจำนวนโครงการหรือรายงการและแต่ละโครงการรายการนั้นใช้เวลาดำเนินการโดยประมาณเป็นระยะเวลาเท่าใดนำมาคำนวณในสัดส่วนเวลาการทำงานต่อคนเพื่อกำหนดจำนวนข้าราชการ และพนักงานจ้างที่พึ่งมี
3) มีการแสดงรายการหรือระบุเวลาการทำงานของข้าราชการและพนักงานงานจ้างว่าใน 1 ปี จะมีเวลาปฏิบัติราชการอย่างน้อย 82,800 นาที
4) นำผลการวิเคราะห์ข้อ 2 และข้อ 3 มาคำนวณเป็นอัตรากำลังที่ต้องการของแต่ละกอง
5) อัตรากำลังตามข้อ 4 ให้จำแนกเป็นความต้องการกำลังคนว่าต้องกากำลังคนเป็นประเภทสายงานผู้ปฏิบัติ สามงานผู้บริหารในระดับใด จำนวนเท่าใด จึงจะสามารถปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6) จัดทำบทวิเคราะห์เปรียบเทียบอัตรากำลังทั้งหมดกับตรากำลังที่มีอยู่ปัจจุบัน
7) จัดทำผลสรุปผลการเปรียบเทียบอัตรากำลังว่าต้องกำหนดตำแหน่งเพิ่มขึ้น หรือคงอยู่เท่าเดิม หรือลดลงหรือเกลี่ยอัตรากำลัง
8) มีการวิเคราะห์ข้อมูลการประมาณความรู้ความสามารถของอัตรากำลังที่มีอยู่ว่าอยู่ในเกณฑ์ต้องเพิ่มประสิทธิภาพ หรือความรู้ความสามารถในประเด็นใด
9) นำผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว มากำหนดเป็นแนวทางการพัฒนาข้อราชการและพนักงานจ้าง หรือจัดหลักสูตรการฝึกอบรมต่อไป
1.3 การดำเนินการปรับปรุงแผนอัตรากำลัง
ข้อ URL คำอธิบาย
1) เอกสารหลักฐานในการดำเนินการต่าง ๆ
2) การจัดคนเข้าสู่ตำแหน่งตามแผนอัตรากำลัง
3) หนังสือนำส่ง ก. จังหวัด
4) โครงสร้างส่วนราชการตามระบบแท่ง
การดำเนินการปรับปรุงแผนอัตรากำลัง
1) มีการจัดประชุมพิจารณาการปรับปรุงแผนอัตรากำลัง
2) มีการวิเคราะห์ภารกิจ อำนาจหน้าที่ เหตุผลความจำเป็นที่ต้องปรับปรุงแผนอัตรากำลัง(การกำหนดตำแหน่งการยุบเลิกตำแหน่ง/การกำหนดส่วนราชการเพิ่มใหม่/การยุบเลิกส่วนราชการ)
3) มีการจัดส่งเอกสารรายงานการประชุม ร่างแผนอัตรากำลัง ฉบับปรับปรุง และเอกสารหลัดฐานต่างๆ เสนอ ก. จังหวัดพิจารณาเห็นชอบ
4) เมื่อ ก. จังหวัดเห็นชอบ ตามข้อ 3) ได้จัดทำบันทึกเสนอผู้บริหารฯ ทราบภายใน 7 วัน นับแต่ได้รับหนังสือ
5) ประกาศแผนอัตรากำลัง 3 ปี ฉบับปรับปรุงระบุ มติ ก. จังหวัด ครั้งที่เห็นชอบให้ปรับปรุง
6) ตรวจสอบโครงสร้างส่วนราชการ ระบุชื่อตำแหน่งสายงานผู้ปฏิบัติ สายงานผู้บริหาร ถูกต้องตามประกาศโครงสร้างส่วนราชการในระบบแท่ง
7) มีการกำหนดเลขที่ตำแหน่งทุกตำแหน่งเป็น 12 หลัก
8) รายการตำแหน่งในสายงานผู้ปฏิบัติ ได้แก่ ประเภททั่วไปและประเภทวิชาการ กรณีรายการตำแหน่งประเภททั่วไปที่ตำแหน่งว่าง กำหนดเป็นงานปฏิบัติ /ชำราญงาน สำหรับรายการตำแหน่งประเภทวิชาการที่ตำแหน่งว่าง กำหนดเป็นปฏิบัติการ/ชำนาญการ
9) ตำแหน่งประเภทอำนายการท้องถิ่น ทั้งกรณีมีคนครองและอัตราว่าง กำหนดเพียงระดับเท่านั้นไม่ให้กำหนดในลักษณะเดียวกับสายงานผู้ปฏิบัติ
10) ประกาศแผนอัตรากำลัง 3 ปี ฉบับแก้ไขโครงสร้างส่วนราชการ ระบุมติ ก.จังหวัด
11) ผู้บริหารท้องถิ่นลงนามในประกาศอัตรากำลังครบถ้วนถูกต้อง
12) ปิดประกาศแผนอัตรากำลังฉบับแก้ไขปรับปรุงหรือแผนแพร่ทางเว็บไซต์
1.4 การดำเนินการเมื่อมีตำแหน่งว่าง
ข้อ URL คำอธิบาย
1) ตรวจสอบแผนอัตรากำลังสามปี
2) ตรวจสอบแผนอัตรากำลังและการเบิกจ่ายเงินเดือนของพนักงานว่าอัตรากำลังเป็นไปตามแผนหรือไม่และหนังสือรายงานเหตุผล(ถ้ามี)
3) หนังสือรายงานตำแหน่งที่ว่างต่อ ก.จังหวัด
4) กรณีตำแหน่งผู้บริหารว่างหากสรรหาแล้วไม่ได้ ต้องสรรหาใหม่ภายใน 60 วัน อย่างต่อเนื่อง
5) เอกสารที่มีการสรรหา เช่น ประกาศรับโอน
1.5 การดำเนินการตามแผนการพัฒนาบุคลากร
ข้อ URL คำอธิบาย
1) ให้ตรวจเอกสารว่ามีแผนพัฒนาบุคลากรเป็นลายลักษณ์อังษรและคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน ตลอดจนเองการรายงานการประชุม
1.6 การฝึกอบรมบุคลากรของ อปท.
ข้อ URL คำอธิบาย
1) ตามหลักเกณฑ์ ก. จังหวัดกำหนดให้ฝึกอบรมจะต้องดำเนินการตามแผนพัฒนาบุคลากรโดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินความต้องการฝึกอบรมเพื่อประกอบการจัดหลักสูตรฝึกอบรม
2) การฝึกอบรมหมายถึงการฝึกอบรมได้แก่ ข้าราชการ (กรณีพนักงานจ้างยังไม่นับรวม)
3) การสำรวจข้อมูลสภาพปัญหาและความต้องการของพนักงานนั้น ต้องมีหลักฐานว่าดำเนินการครบทุกส่วนราชการ
1.7 การส่งเสริมพัฒนาความรู้
ข้อ URL คำอธิบาย
ตรวจสอบจาก
1) โครงการที่บรรจุในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
2) การจัดฝึกอบรมของ อปท.
3) คำสั่ง หรือหนังสือส่งตัวบุคลากร
4) เอกสารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
5) เอกสารสรุปผลการฝึกอบรมฯ
6) คู่มือการปฏิบัติงาน
7) ตรวจสอบตำแหน่งผู้เข้าฝึกอบรมกับหลัดสูตรฝึกอบรม ต้องมีลักษณะงานที่สัมพันธ์กับหน้าที่ในความรับผิดชอบ
การส่งเสริมพัฒนาความรู้ มีการดำเนินการดังนี้
1) อปท. ส่งบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับตำแหน่งหรือมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
2) ผู้เข้าฝึกอบรมสรุปผลการฝึกอบรมรายงานผู้บังคับบัญชาทราบ หรือกรณีที่ อปท. จัดอบรมเองจะต้องมีหลักฐานรายงานการประชุมสรุปผลการฝึกอบรมรายงานให้ผู้บริหารทราบ
3) จัดทำเอกสารเผยแพร่ความรู้ให้แก่บุคลากรเป็นประจำ อย่างน้อยทุก 3 เดือน
4) นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปประยุกต์ใช้เพื่อปรับปรุง พัฒนาการปฏิบัติงานตามมาตรฐานหรือมีนวัตกรรม/โครงการเพื่อเน้นประสิทธิภาพในการปฏิบัติ งานที่เป็นรูปธรรม
5) นำผลการประเมินกรปฏิบัติรายการเป็นข้อมูลในการจัดทำโครงการฝึกอบรมหรือส่งไปฝึกอบรม
1.8 การพัฒนาบุคลากรทุกสายงานของ อปท.
ข้อ URL คำอธิบาย
1) การฝึกอบรมความรู้ในสายงานให้พิจารณาร้อยละของจำนวนสายงานที่มีการฝึกอบรมความรู้ตามสายงาน เช่น เทศบาล ก.มีพนักงานเทศบาลตามแผนอัตรากำลังสามปี จำนวน 30 สายงาน พนักงานเทศบาลได้ฝึกอบรมความรู้ในหลักสูตรตามสายงาน จำนวน 24 สายงาน คิดเฉลี่ยเป็นร้อยละ 80 ของสายงานทั้งหมด จะได้คะแนน 3 คะแนน เป็นต้น
2) ฎีกาเบิกจ่ายหรือหนังสือส่งตัวเข้ารับการอบรม
3) ตรวจสอบเฉพาะข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่นเท่านั้น
 
   1      2     (3)     4      5      6      7     ....หน้าสุดท้าย >> 20
 
สายตรงปลัด
โทร : 087-572-4992
สายตรงนายก
โทร : 093-140-8954
นายธนิสร บุญมีจิว
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนครชุม
 
 
 
 
แผนผังเว็บไซต์
Version ขั้นต่ำของ Browser IE9 / Firefox 3.5 / Chrome / Safari4 / Opera10
องค์การบริหารส่วนตำบลนครชุม อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก 65120
โทรศัพท์ : 0-5500-9808 โทรสาร : 0-5500-9808 Email : saraban_06650206@dla.go.th
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2551 ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537 องค์การบริหารส่วนตำบลนครชุม
จำนวนผู้เข้าชม 5,792,003 เริ่มนับ 7 ธ.ค. 2560
จัดทำโดย : NAXsolution.com